แผ่นใส สีใสกระจก พรตพิทยพยัต : แผ่นเดียว ก็ขาย แผ่นใส ส […]
Category Archives: ถนนหลวงพรตพิทยพยัต
ถนนหลวงพรตพิทยพยัต
ถนนหลวงพรตพิทยพยัต is position for the activity in post to be presented at the first rank on Google page that search by focus keyphrase in category.
ถนนหลวงพรตพิทยพยัต เป็นถนนทางสายหลักของ เขตลาดกระบัง
เขตลาดกระบัง เป็นเขตการปกครองที่มีพื้นที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของกรุงเทพมหานคร (รองจากเขตหนองจอก) สภาพโดยทั่วไปเป็นท้องทุ่ง มีแหล่งชุมชนหนาแน่นทางทิศใต้และมีเขตนิคมอุตสาหกรรมทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่
เนื้อหา
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
เขตลาดกระบังตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของกรุงเทพมหานคร มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตมีนบุรีและเขตหนองจอก มีคลองลำนายโส คลองสองต้นนุ่น ลำรางคอวัง ลำรางศาลเจ้า คลองตาเสือ แนวคันนาผ่านถนนคุ้มเกล้า ลำรางตาทรัพย์ คลองบึงใหญ่ คลองลำกอไผ่ คลองลำมะขาม คลองลำพะอง คลองกระทุ่มล้ม คลองลำตาอิน และคลองลำตาแฝงเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา (จังหวัดฉะเชิงเทรา) มีคลองหลวงแพ่งและคลองประเวศบุรีรมย์เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอบางบ่อ อำเภอบางเสาธง และอำเภอบางพลี (จังหวัดสมุทรปราการ) มีแนวเส้นตรงจากคลองตาพุกไปบรรจบคลองลาดกระบัง, คลองลาดกระบัง และแนวเส้นตรงจากคลองลาดกระบังไปบรรจบคลองกาหลงเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตประเวศและเขตสะพานสูง มีคลองตาพุก คลองแม่จันทร์ คลองบึงขวาง และคลองลาดบัวขาวเป็นเส้นแบ่งเขต
ประวัติศาสตร์[แก้]
เดิมเขตลาดกระบังเป็นพื้นที่การปกครองของเมืองมีนบุรีซึ่งเป็นเมือง (จังหวัด) หนึ่งในมณฑลกรุงเทพ มีชื่อเรียกว่า อำเภอแสนแสบ ต่อมาในปี พ.ศ. 2470 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอลาดกระบัง เพื่อให้ตรงกับชื่อตำบลที่ตั้งที่ว่าการอำเภอ[3] และในปี พ.ศ. 2474 จังหวัดมีนบุรีถูกยุบมารวมกับจังหวัดพระนคร[4] อำเภอลาดกระบังจึงย้ายมาขึ้นกับจังหวัดพระนครด้วย
ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2481 กระทรวงมหาดไทยได้ยุบอำเภอลาดกระบังลงเป็น กิ่งอำเภอลาดกระบัง ขึ้นกับอำเภอมีนบุรี เนื่องจากในขณะนั้นมีปริมาณงานไม่มากนักและมีจำนวนประชากรน้อย[5] จนกระทั่งในวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2500 จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น อำเภอลาดกระบัง อีกครั้ง[6] โดยได้โอนตำบลแสนแสบไปขึ้นกับอำเภอมีนบุรี และแบ่งพื้นที่บางส่วนของตำบลทับยาว มาจัดตั้งเป็นตำบลขุมทองในปี พ.ศ. 2504[7]
ต่อมามีประกาศคณะปฏิวัติรวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าด้วยกันเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและเปลี่ยนรูปแบบเป็นกรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2515 อำเภอลาดกระบังจึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตลาดกระบัง ตั้งแต่นั้น
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
เขตลาดกระบังแบ่งหน่วยการปกครองย่อยออกเป็น 6 แขวง ได้แก่
อักษรไทย | อักษรโรมัน | พื้นที่ (ตร.กม.) |
จำนวนประชากร (กันยายน 2562) |
จำนวนบ้าน (กันยายน 2562) |
ความหนาแน่นประชากร (กันยายน 2562) |
---|---|---|---|---|---|
ลาดกระบัง | Lat Krabang |
10.823
|
30,167
|
18,786
|
2,787.30
|
คลองสองต้นนุ่น | Khlong Song Ton Nun |
14.297
|
67,834
|
32,678
|
4,744.63
|
คลองสามประเวศ | Khlong Sam Prawet |
17.458
|
15,810
|
11,253
|
905.60
|
ลำปลาทิว | Lam Pla Thio |
33.752
|
24,683
|
12,856
|
731.305
|
ทับยาว | Thap Yao |
25.834
|
30,239
|
17,785
|
1,170.51
|
ขุมทอง | Khum Thong |
21.695
|
8,161
|
2,804
|
376.17
|
ทั้งหมด |
123.859
|
176,894
|
96,162
|
1,428.19
|
ประชากร[แก้]
[แสดง]สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร เขตลาดกระบัง[8] |
---|
การคมนาคม[แก้]
ทางสายหลักในพื้นที่เขตลาดกระบัง ได้แก่
|
ส่วนทางสายรองและทางลัด ได้แก่
|
|
ขนส่งมวลชนทางราง
สถานที่สำคัญ[แก้]
- สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
- วัดลาดกระบัง
- วัดลานบุญ
- วัดสังฆราชา
- วัดทิพพาวาส
- สวนพระนคร
- ตลาดหัวตะเข้
- โรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า
- โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง
- โรงเรียนพรตพิทยพยัต
- มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ
- โรงเรียนพร้อม
- โรงเรียนวัดลาดกระบัง
- โรงเรียนวัดปากบึง
- โรงเรียนวัดลานบุญ
- นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง
- สวนนกธรรมชาติหลังนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง
- โรงเรียนแดงเป้า (สิงสุขบูรณะ)
- วัดปลูกศรัทธา
- สถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง ลาดกระบัง